วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ตัวอย่างการเขียนผังงาน2

ตัวอย่างการเขียนผังงาน ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนโปรแกรมรับตัวเลขจากแป้นพิมพ์ เพื่อให้แสดงว่าตัวเลขเป็นเลขคู่หรือคี่ ภาพที่ 1 แสดงผังงานของการตรวจสอบว่าเลขคู่หรือเลขคี่ ตัวอย่าง 2 เขียนผังงานที่แสดงขั้นตอนการส่งจดหมาย รูปที่ 2 แสดงการเขียนผังงานที่แสดงขั้นตอนการส่งจดหมาย ตัวอย่างที่ 3 เขียนผังงานแสดงวิธีการรับประทานยา ที่แบ่งขนาดรับประทานตามอายุของผู้ทานดังนี้ • อายุมากกว่า 10 ปี รับประทานครั้งละ 2 ช้อนชา • อายุมากกว่า 3 ปี ถึง 10 ปี รับประทานครั้งละ 1 ช้อนชา • อายุมากกว่า 1 ปี ถึง 3 ปี รับประทานครั้งละ 1/2 ช้อนชา • แรกเกิดถึง 1 ปี ห้ามรับประทาน รูปที่ 3 แสดงการเขียนผังงานแสดงวิธีการรับประทานยา ตัวอย่าง 4 การเขียนผังงานอ่านค่าข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และ B แล้วทำการเปรียบเทียบในตัวแปรทั้งสอง โดยมีเงื่อนไขดังนี้ • ถ้า A มากกว่า B ให้คำนวณหาค่า A - B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT • ถ้า A น้อยกว่าหรือเท่ากับ B ให้คำนวณหาค่า A + B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT รูปที่ 4 แสดงการเขียนผังงานอ่านค่าข้อมูล

ตัวอย่างการเขียนผังงาน

ตัวอย่างการเขียนผังงาน ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนโปรแกรมรับตัวเลขจากแป้นพิมพ์ เพื่อให้แสดงว่าตัวเลขเป็นเลขคู่หรือคี่ ผังงาน จากตัวอย่างที่ 1 สามารถเขียนเป็นผังงานได้ดังภาพ ภาพที่ 1 แสดงผังงานของการตรวจสอบว่าเลขคู่หรือเลขคี่ ตัวอย่าง 2 เขียนผังงานที่แสดงขั้นตอนการส่งจดหมาย รูปที่ 2 แสดงการเขียนผังงานที่แสดงขั้นตอนการส่งจดหมาย ตัวอย่างที่ 3 เขียนผังงานแสดงวิธีการรับประทานยา ที่แบ่งขนาดรับประทานตามอายุของผู้ทานดังนี้ • อายุมากกว่า 10 ปี รับประทานครั้งละ 2 ช้อนชา • อายุมากกว่า 3 ปี ถึง 10 ปี รับประทานครั้งละ 1 ช้อนชา • อายุมากกว่า 1 ปี ถึง 3 ปี รับประทานครั้งละ 1/2 ช้อนชา • แรกเกิดถึง 1 ปี ห้ามรับประทาน รูปที่ 3 แสดงการเขียนผังงานแสดงวิธีการรับประทานยา ตัวอย่าง 4 การเขียนผังงานอ่านค่าข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และ B แล้วทำการเปรียบเทียบในตัวแปรทั้งสอง โดยมีเงื่อนไขดังนี้ • ถ้า A มากกว่า B ให้คำนวณหาค่า A - B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT • ถ้า A น้อยกว่าหรือเท่ากับ B ให้คำนวณหาค่า A + B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT รูปที่ 4 แสดงการเขียนผังงานอ่านค่าข้อมูล